ที่เที่ยวลพบุรี
ที่เที่ยวลพบุรี เที่ยวลพบุรี ดินแดนอาณาจักรไทยเดิม เมืองที่น่าค้นหา ดื่มด่ำบรรยากาศ สถานที่ท่องเที่ยวลพบุรี สุด Unseen เมืองในฝันด้วยวิถีชีวิตที่เรียบง่าย ตามแบบฉบับ ที่เที่ยวลพบุรี ฟินไปกับวัดวาอาราม สถาปัตยกรรมโบราณ รถไฟลอยน้ำ ลพบุรีที่เที่ยว รับโอโซนให้เต็มปอด แล้วตลุยเมืองละโว้ ถิ่นโบราณ ดินแดนที่น่าค้นหา ถ้าพร้อมแล้วก็ลุยกันนเล้ยย!!! check here
พระปรางค์สามยอด
พระปรางค์สามยอด ที่เที่ยวลพบุรี ตำบลท่าหิน อำเภอเมืองลพบุรี จังหวัดลพบุรี โบราณสถานทางประวัติศาสตร์ไทยสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราช เป็นปราสาทศิลาแดงศิลปะการตกแต่งแบบเขมร ด้านในสถานที่ตามมุมต่างๆ ทุกคนจะได้พบกับ เจ้าลิงจ๋อตัวน้อยกันด้วยนะคะสามารถเก็บภาพสวยๆ ของน้องจ๋อกันได้ด้วย เดินชมโบราณสถานที่ทรงพลังในบรรยากาศที่ให้ความรู้สึกย้อนยุคสมัยแบบน่าทึ่งสุดๆบ้านพักพูลวิลล่า กระบี่
และในการมาเยือนที่พระปรางค์สามยอดนี่คุ้มแน่นอนเพราะทุกคนสามารถเข้าชม วัดพระศรีรัตนมหาธาตุ วัดสวยใกล้กรุงเทพ พระที่นั่งไกรสรสีหราช และบ้านหลวงวิชาเยนทร์ กันได้อีกด้วยนะ เที่ยวลพบุรี เที่ยวพระปรางค์สามยอด ใกล้ที่เที่ยวสิงห์บุรีเที่ยวสนุกท่องเมืองประวัติศาสตร์ไทย
พระปรางค์สามยอด ตั้งอยู่ที่ตำบลท่าหิน อำเภอเมืองลพบุรี จังหวัดลพบุรี เป็นโบราณสถานและแหล่งท่องเที่ยวทาง ประวัติศาสตร์และโบราณคดีที่สำคัญแห่งหนึ่งของจังหวัดลพบุรี ปราสาทศิลาแลงแบบเขมรเรียงต่อกัน 3 องค์ เชื่อมต่อกันด้วย มุขกระสัน ภายในบริเวณนอกจากปราสาททั้ง 3 องค์นี้แล้ว ทางด้านทิศตะวันออกของปราสาทประธานมีการต่อเติม วิหารก่ออิฐถือ ปูนเชื่อมต่อกับปราสาทประธานเพื่อประดิษฐานพระพุทธรูป ในรัชสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราช (ครองราชย์ พ.ศ. 2199 -2231)
ประวัติพระปรางค์สามยอด
ลักษณะเป็นปราสาทเขมรในศิลปะบายน (พ.ศ. 1720 – 1773) โครงสร้างเป็นศิลาแลงประดับปูนปั้น สร้างขึ้นในรัชสมัยพระเจ้าชัย วรมันที่ 7 (ครองราชย์ พ.ศ. 1724 – ประมาณ 1757) เพื่อเป็นพุทธสถานในลัทธิวัชรยานประจำเมืองละโว้หรือลพบุรี ซึ่งในขณะนั้น เป็นเมืองลูกหลวงของอาณาจักรกัมพูชา แต่เดิมภายในปราสาทประธานประดิษฐานพระพุทธรูปนาคปรกทรงเครื่อง ปราสาททิศใต้ ประดิษฐานรูปพระโลเกศวร (พระโพธิสัตว์อวโลกิเตศวร) สี่กร และปราสาททิศเหนือประดิษฐานรูปพระนางปรัชญาปารมิตาสองกร กรมศิลปากรได้ประกาศขึ้นทะเบียนเป็นโบราณสถานในราชกิจจานุเบpool villa กาญจนบุรี
พระนารายณ์ราชนิเวศน์
พระนารายณ์ราชนิเวศน์ เป็น สถานที่เที่ยวลพบุรี ที่สำคัญทางประวัติศาสตร์ของไทยมาก โดยที่แห่งนี้ ชาวเมืองลพบุรีเรียกกันว่า “วังนารายณ์” เพราะเป็นพระราชวังที่สมเด็จพระนารายณ์มหาราชโปรดฯ ให้สร้างขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2209พื้นที่ทั้งหมดภายในพระราชวังแบ่งออกเป็น 3 เขต คือ เขตพระราชฐานชั้นนอกประกอบด้วย อ่างเก็บน้ำซับเหล็ก สิบสองท้องพระคลัง ตึกพระเจ้าเหา
ตึกรับรองคณะทูตต่างประเทศโรงช้างหลวง 10 โรงฟังจากประวัติแล้วทุกคนนึกภาพตามกันออกใช่ไหมคะว่าที่แห่งนี้ในสมัยนั้นจะยิ่งใหญ่ขนาดไหน จนปัจจุบันได้กลายเป็น พิพิธภัณฑสถานในปี พ.ศ. 2504 เปลี่ยนชื่อเป็น พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติสมเด็จพระนารายณ์ ด้านในจัดแสดงศิลปโบราณวัตถุ ที่หาดูไม่ได้จากที่ไหนเลยล่ะค่ะ ให้ฟิวย้อนยุคสมัยที่น่าประทับใจสุดๆ ต้องไปเที่ยวเลยคร้า
ชาวเมืองลพบุรีเรียกสถานที่แห่งนี้ว่า “วังนารายณ์” เป็นพระราชวังที่สมเด็จพระนารายณ์มหาราชโปรดฯ ให้สร้างขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2209 บนพื้นที่ 41 ไร่ ณ เมืองลพบุรีเพื่อใช้เป็นที่ประทับ ล่าสัตว์ออกว่าราชการ และต้อนรับแขกเมือง ภายหลังการเสด็จสวรรคตของสมเด็จพระนารายณ์มหาราชที่นี่ก็ถูกทิ้งร้าง จนถึงรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
พระองค์โปรดให้บูรณะพระราชวังของสมเด็จพระนารายณ์มหาราชและสร้างพระที่นั่งขึ้นใหม่ในปี พ.ศ. 2399 และพระราชทานนามว่า “พระนารายณ์ราชนิเวศน์” พื้นที่ทั้งหมดภายในพระราชวังแบ่งออกเป็น 3 เขต คือ เขตพระราชฐานชั้นนอกประกอบด้วย อ่างเก็บน้ำซับเหล็ก สิบสองท้องพระคลัง ตึกพระเจ้าเหา ตึกรับรองคณะทูตต่างประเทศโรงช้างหลวง 10 โรง ส่วนต่อมาคือ
เขตพระราชฐานชั้นกลาง มีอาคารต่าง ๆ ได้แก่ พระที่นั่งจันทรพิศาล พระที่นั่งดุสิตสวรรค์ธัญญมหาปราสาทหมู่พระที่นั่งพิมานมงกุฏ (ประกอบด้วยพระที่นั่ง 4 องค์เชื่อมติดกัน ได้แก่ พระที่นั่งพิมานมงกุฎ ,พระที่นั่งสุทธิวินิจฉัย ,พระที่นั่งไชยศาสตรากร และพระที่นั่งอักษรศาสตราคม) ทิมดาบ หรือ ที่พักของทหารรักษาการณ์และสุดท้ายคือเขตพระราชฐานในมีพระที่นั่งสุทธาสวรรย์และหมู่ตึกพระประเทียบ
วัดพระศรีรัตนมหาธาตุ
วัดพระศรีรัตนมหาธาตุ โบราณสถานอีกที่หนึ่งที่สำคัญใน จังหวัดลพบุรี เป็นแหล่งศึกษาประวัติศาสร์ไทยที่น่าสนใจมากๆ ซึ่งเต็มไปด้วยร่องรอยแห่งอารายธรรมโบราณที่น่าทึ่ง ทิ้งไว้ให้คนรุ่นหลังได้ชมความงดงามอันทรงคุณค่า ที่เที่ยวลพบุรี วัดพระศรีรัตนมหาธาตุนับว่าเป็นวัดที่มีศิลปะการตกแต่ง ที่มีความผสมผสานได้อย่างลงตัวสวยงาม เช่น ซุ้มหน้าของปรางค์ประธานเป็นศิลปะตกแต่งแบบตะวันตก ซึ่งเป็นยุคที่เริ่มมีการติดต่อกับ ฝรั่งเศส นั่นเอง
ชาวเมืองลพบุรีเรียกสถานที่แห่งนี้ว่า “วังนารายณ์” เป็นพระราชวังที่สมเด็จพระนารายณ์มหาราชโปรดฯ ให้สร้างขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2209 บนพื้นที่ 41 ไร่ ณ เมืองลพบุรีเพื่อใช้เป็นที่ประทับ ล่าสัตว์ออกว่าราชการ และต้อนรับแขกเมือง ภายหลังการเสด็จสวรรคตของสมเด็จพระนารายณ์มหาราชที่นี่ก็ถูกทิ้งร้าง จนถึงรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว พระองค์โปรดให้บูรณะพระราชวังของสมเด็จพระนารายณ์มหาราชและสร้างพระที่นั่งขึ้นใหม่ในปี พ.ศ. 2399
และพระราชทานนามว่า “พระนารายณ์ราชนิเวศน์” พื้นที่ทั้งหมดภายในพระราชวังแบ่งออกเป็น 3 เขต คือ เขตพระราชฐานชั้นนอกประกอบด้วย อ่างเก็บน้ำซับเหล็ก สิบสองท้องพระคลัง ตึกพระเจ้าเหา ตึกรับรองคณะทูตต่างประเทศโรงช้างหลวง 10 โรง ส่วนต่อมาคือ เขตพระราชฐานชั้นกลาง มีอาคารต่าง ๆ ได้แก่ พระที่นั่งจันทรพิศาล พระที่นั่งดุสิตสวรรค์ธัญญมหาปราสาทหมู่พระที่นั่งพิมานมงกุฏ (ประกอบด้วยพระที่นั่ง 4 องค์เชื่อมติดกัน ได้แก่ พระที่นั่งพิมานมงกุฎ ,พระที่นั่งสุทธิวินิจฉัย ,พระที่นั่งไชยศาสตรากร และพระที่นั่งอักษรศาสตราคม) ทิมดาบ หรือ ที่พักของทหารรักษาการณ์และสุดท้ายคือเขตพระราชฐานในมีพระที่นั่งสุทธาสวรรย์และหมู่ตึกพระประเทียบ
บ้านหลวงวิชาเยนทร์
บ้านหลวงวิชาเยนทร์ ที่เที่ยวลพบุรี ที่ตอนนี้เป็นที่น่าสนใจเป็นอย่างมาก เพราะเป็นที่มาของฉากในละคร บุพเพสันนิวาส ที่โด่งดังอยู่ในตอนนี้เอง โดยที่นี่จะเรียกกันว่า บ้านหลวงรับราชทูต เพราะที่นี่เคยเป็นที่ต้อนรับคณะราชทูตจากฝรั่งเศสชุดเเรก ในสมัยพระนารายณ์มหาราช
ซึ่งยังคงทิ้งร่องรอยความสง่างามไว้บางส่วน มีรั้วรอบขอบชิด ประตูอย่างชัดเจน ให้นักท่องเที่ยวได้ชมกันอย่างใกล้ชิด ที่เที่ยวลพบุรี แห่งนี้เป็นหนึ่งในสถานที่ที่ไม่ควรพลาดกันเลยล่ะคร้าาาบ้านหลวงรับราชทูต หรือ บ้านวิชาเยนทร์ ตั้งอยู่บนถนนวิชาเยนทร์ อำเภอเมืองลพบุรี จังหวัดลพบุรี ไม่ไกลจากพระนารายณ์ราชนิเวศน์
ในสมัยก่อนกลุ่มบ้านอันงดงามเหล่านี้ถูกสร้างขึ้นเพื่อใช้เป็นสถานที่รองรับคณะทูตที่มาเข้าเฝ้า สมเด็จพระนารายณ์มหาราชยังเมืองลพบุรี คณะราชทูตจากประเทศฝรั่งเศสชุดแรกที่เข้ามาเมื่อปี พ.ศ.2228 ได้พำนัก ณ ที่แห่งนี้ ต่อมาเมื่อชาวกรีกที่ มีชื่อ Constantine Phaulkon (คอนสแตนติน ฟอลคอน) ได้เข้ามารับราชการและได้รับความดีความชอบ
ได้ทรงแต่งตั้งให้เป็นถึง เจ้าพระยาวิชาเยนทร์ และได้พระราชทานที่พักอาศัยให้อยู่ทางด้านทิศตะวันตกของบ้านหลวงรับราชทูต จนเป็นที่มาของชื่อ บ้านหลวงรับราชทูตหรือบ้านหลวงวิชาเยนทร์ ลักษณะของสถาปัตยกรรมบ้านหลวงรับราชทูตบางหลังเป็นยุโรปอย่างแท้จริง โดยเฉพาะอาคารใหญ่ทางทิศตะวันออกก่อด้วยอิฐ ถือปูน 2 ชั้น หน้าต่างและซุ้มประตูแสดงให้เห็นลักษณะศิลปะตะวันตกแบบเรอเนสซองส์ RENAISSANCE ซึ่งแพร่หลายในสมัยนั้น